
E-portfolio
By Thanasith settiwrogskul
คณิตศาสตร์
อัตราส่วน (Ratio) คือ การเปรียบเทียบของสิ่งหนึ่งต่อของอีกสิ่งหนึ่งที่มีหน่วยอย่าง เดียวกัน เช่น a : b อ่านว่า a ต่อ b หรือ a/b
ความกว้าง : ความยาว
เช่น กล่อง กว้าง 20 ซ.ม ยาว 30 ซ.ม. เขียนแทนด้วย 20: 30 หรือเขียนในรูปเศษส่วน 20/30
ร้อยละหรือเปอร์เซนต์ หมายถึง
อัตราส่วนที่เราต้องการ ที่มีการเทียบกับ 100 หรือ อัตราส่วนที่มีส่วนเป็น 100
เราเรียกว่า เปอร์เซนต์ ใช้สัญลักษณ์ แทนด้วยเครื่องหมาย %
เช่น 30 % อ่านว่า 30 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 30 : 100
45 % อ่านว่า 45 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 45 : 100
84 % อ่านว่า 84 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 84 : 100
การอ่านปริมาณที่เป็นร้อยละหรือเปอร์เซนต์
120 % อ่านว่า 120 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 120 : 100
200 % อ่านว่า 200 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 200 : 100
750 % อ่านว่า 750 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 750 : 10
1000 % อ่านว่า 1000 เปอร์เซ็นต์ เป็นอัตราส่วนว่า 1000 : 100
อัตราส่วนที่เท่ากัน คือ อัตราส่วนที่แสดงอัตราเดียวกัน นั่นเอง เช่น
3 : 5 = 6 : 10 = 12 : 20 เป็นต้น
สัดส่วน (Proportion) คือ ประโยคสัญลักษณ์ที่แสดงการเท่ากันของ 2 อัตราส่วน เช่น a : b = c : d อ่านว่า a ต่อ b เท่ากับ c ต่อ d
การแก้ปัญหาโจทย์สัดส่วน
1. อ่านโจทย์ให้เข้าใจว่าโจทย์ต้องการอะไร และให้ข้อมูลอะไรมาบ้าง
2. สมมุติตัวแปร แทนสิ่งที่ต้องการ
3. เขียนเป็นสัดส่วน (เปลี่ยนประโยคภาษาไทยให้เป็นประโยคสัญลักษณ์)
4.หาค่าตัวแปรในสัดส่วน
5. ตรวจสอบคำตอบ (นำคำตอบที่ได้ไปแทนค่าในโจทย์) เพื่อความไม่ประมาท
บทนิยาม ให้ a แทนจำนวนจริงบวกใดๆหรือศูนย์
รากที่สองของ a คือจำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วได้ a
ถ้า a เป็นจำนวนเต็มบวก รากที่สองของ a มีสองรากคือ
1. รากที่เป็นบวก ใช้สัญลักษณ์ โดยที่
2. รากที่เป็นลบ ใช้สัญลักษณ์ - โดยที่
ตัวอย่างที่ 1 รากที่สองของ 9 คือ
3 x 3 = = 9
(-3) x (-3) = = 9
ดังนั้น รากที่สองของ 9 คือ และ -
หรือ รากที่สองของ 9 คือ 3 และ - 3
ตัวอย่างที่ 2 รากที่สอง 36 คือ และ -
เนื่องจาก 36 = 6 x 6 =
36 = (-6) x (-6) =
ดังนั้น รากที่สองของ 36 คือ 6 และ - 6
หมายเหตุ
1. รากที่สองของ 0 คือ 0
2. รากที่สองของจำนวนจริงบวกจะเป็นจำนวนตรรกยะหรืออตรรกยะอย่างใดอย่างหนึ่ง
เท่านั้น
3. รากที่สองของจำนวนจริงลบจะไม่เป็นจำนวนจริง
4. ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆจะได้ เมื่อ แทนค่าสัมบูรณ์ของ a
ตัวอย่างที่ 3
ดังนั้น รากที่สองของ 36 คือ 6 และ - 6
การหารากที่สองนี้ ได้ทำการแสดงวิธีการหาราก ที่สอง โดย การแยกตัวประกอบ การประมาณค่า และะแบบฝึกหัดโจทย์ การหารากที่สอง